การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของห้องปฏิบัติการสำหรับการสอบเทียบด้านมิติ
การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของห้องปฏิบัติการสำหรับการสอบเทียบด้านมิติเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งเพื่อให้ได้ผลประโยชน์สูงสุดของความเที่ยงตรงและแม่นยำของเครื่องมือ ซึ่งก่อนอื่นเราควรถามตัวเองถึงขอบข่ายและเป้าหมายการทำงานของเราให้ชัดเจนและครอบคลุมเสียก่อน จากนั้นต้องพิจารณาว่า บริษัทต้องการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดต่างๆอะไรบ้าง เช่น ไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ เวอร์เนียคาลิปเปอร์ ไฮเกจ และไดอัลเกจ เป็นต้น ต่อจากนั้นก็ต้องพิจารณารวมไปถึงพิสัยการวัดและความถูกต้อง เช่น เป็น 1 µm หรือ 10 µµm หรือ 50.µµm ต่อไปให้พิจารณาว่าเครื่องมือแต่ละชนิดที่ต้องได้รับการสอบเทียบทั้งหมดนั้นมีค่าความถูกต้องที่ดีที่สุดเป็นเท่าไรเพื่อใช้เป็นเกณฑ์อ้างอิง ซี่งจะสัมพันธ์กับขนาดและสภาวะแวดล้อมของห้อง ยกตัวอย่างเช่น เรามีคนทำงานอยู่ในห้องปฏิบัติการ 2 คน ห้องปฏิบัติการนี้ควรมีขนาดประมาณ 4 x 3 เมตร โดยให้สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมให้มีอุณหภูมิ 18O°C ถึง 28°OC หรือ (23±±5)°OC และความชื้นสัมพัทธ์ 45%RH ถึง 75%RH หรือ (60±±15)%RH
จากนั้นจะต้องพิจารณาถึงพื้นห้อง ซึ่งเราเพียงแต่ปูกระเบื้องยางก็เพียงพอแล้ว เหตุผลคือ ทำความสะอาดง่ายและประหยัดงบประมาณด้วยเรื่องการสั่นสะเทือนเราอาจทำการทดลองด้วยการวางเครื่องมือต่างๆดังกล่าวข้างต้นไว้ในตำแหน่งต่างๆ สังเกตดูว่าตัวเลขบนเครื่องมือมันเปลี่ยนไปหรือไม่ หากผลคือไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆก็แสดงว่าการสั่นสะเทือนไม่ส่งผลต่อการทำงานส่วนประตูห้อง หากเป็นไปได้ควรทำเป็นประตูบานเลื่อนหรือจะเพิ่มประตู 2 ชั้น (แอร์ล็อค) ด้วยก็จะดีมากสำหรับระบบแสงสว่างก็ใช้หลอดฟลูออเรสเซนซ์ธรรมดา ความสว่างให้เห็นชิ้นงานชัดเจนไม่แสบตาก็เพียงพอแล้วส่วนฝาผนัง ในปัจจุบันก็มีแผ่นยิปซั่มชนิดที่มีฉนวนกันความร้อนและมีแผ่นไฟเบอร์ ให้สังเกตเวลาเราไปซื้อของตามห้างใหญ่ๆ เราก็เลือกใช้ชนิดเดียวกับที่ใช้ในการบุหลังคาห้างนั่นเองส่วนเครื่องปรับอากาศก็ให้พิจารณาเครื่องที่เป็นระบบอินเวอร์เตอร์ ซึ่งก็มีหลายยี่ห้อในท้องตลาด แต่ควรเลือกให้เหมาะกับขนาดของห้องปฏิบัติการของเรารับรองได้ว่าแค่นี้ก็สามารถทำเป็นห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้มาตรฐานได้แล้ว ส่วนในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เรามาลองคำนวณดูกันว่าถ้าอุณหภูมิห้องเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส จะส่งผลให้ความยาวเปลี่ยนไปเท่าไร ทั้งนี้ผลต่างของความยาวของเครื่องมือวัดที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นจะต้องไม่ทำให้การตรวจสอบชิ้นงานมีความผิดพลาดอันเนื่องมาจากเครื่องมือวัดได้ เราสามารถคำนวณค่าผลต่างของความยาวได้ดังสมการ
การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของห้องปฏิบัติการสำหรับการสอบเทียบด้านมิติเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งเพื่อให้ได้ผลประโยชน์สูงสุดของความเที่ยงตรงและแม่นยำของเครื่องมือ ซึ่งก่อนอื่นเราควรถามตัวเองถึงขอบข่ายและเป้าหมายการทำงานของเราให้ชัดเจนและครอบคลุมเสียก่อน จากนั้นต้องพิจารณาว่า บริษัทต้องการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดต่างๆอะไรบ้าง เช่น ไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ เวอร์เนียคาลิปเปอร์ ไฮเกจ และไดอัลเกจ เป็นต้น ต่อจากนั้นก็ต้องพิจารณารวมไปถึงพิสัยการวัดและความถูกต้อง เช่น เป็น 1 µm หรือ 10 µµm หรือ 50.µµm ต่อไปให้พิจารณาว่าเครื่องมือแต่ละชนิดที่ต้องได้รับการสอบเทียบทั้งหมดนั้นมีค่าความถูกต้องที่ดีที่สุดเป็นเท่าไรเพื่อใช้เป็นเกณฑ์อ้างอิง ซี่งจะสัมพันธ์กับขนาดและสภาวะแวดล้อมของห้อง ยกตัวอย่างเช่น เรามีคนทำงานอยู่ในห้องปฏิบัติการ 2 คน ห้องปฏิบัติการนี้ควรมีขนาดประมาณ 4 x 3 เมตร โดยให้สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมให้มีอุณหภูมิ 18O°C ถึง 28°OC หรือ (23±±5)°OC และความชื้นสัมพัทธ์ 45%RH ถึง 75%RH หรือ (60±±15)%RH
จากนั้นจะต้องพิจารณาถึงพื้นห้อง ซึ่งเราเพียงแต่ปูกระเบื้องยางก็เพียงพอแล้ว เหตุผลคือ ทำความสะอาดง่ายและประหยัดงบประมาณด้วยเรื่องการสั่นสะเทือนเราอาจทำการทดลองด้วยการวางเครื่องมือต่างๆดังกล่าวข้างต้นไว้ในตำแหน่งต่างๆ สังเกตดูว่าตัวเลขบนเครื่องมือมันเปลี่ยนไปหรือไม่ หากผลคือไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆก็แสดงว่าการสั่นสะเทือนไม่ส่งผลต่อการทำงานส่วนประตูห้อง หากเป็นไปได้ควรทำเป็นประตูบานเลื่อนหรือจะเพิ่มประตู 2 ชั้น (แอร์ล็อค) ด้วยก็จะดีมากสำหรับระบบแสงสว่างก็ใช้หลอดฟลูออเรสเซนซ์ธรรมดา ความสว่างให้เห็นชิ้นงานชัดเจนไม่แสบตาก็เพียงพอแล้วส่วนฝาผนัง ในปัจจุบันก็มีแผ่นยิปซั่มชนิดที่มีฉนวนกันความร้อนและมีแผ่นไฟเบอร์ ให้สังเกตเวลาเราไปซื้อของตามห้างใหญ่ๆ เราก็เลือกใช้ชนิดเดียวกับที่ใช้ในการบุหลังคาห้างนั่นเองส่วนเครื่องปรับอากาศก็ให้พิจารณาเครื่องที่เป็นระบบอินเวอร์เตอร์ ซึ่งก็มีหลายยี่ห้อในท้องตลาด แต่ควรเลือกให้เหมาะกับขนาดของห้องปฏิบัติการของเรารับรองได้ว่าแค่นี้ก็สามารถทำเป็นห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้มาตรฐานได้แล้ว ส่วนในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เรามาลองคำนวณดูกันว่าถ้าอุณหภูมิห้องเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส จะส่งผลให้ความยาวเปลี่ยนไปเท่าไร ทั้งนี้ผลต่างของความยาวของเครื่องมือวัดที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นจะต้องไม่ทำให้การตรวจสอบชิ้นงานมีความผิดพลาดอันเนื่องมาจากเครื่องมือวัดได้ เราสามารถคำนวณค่าผลต่างของความยาวได้ดังสมการ
จากนั้นจะต้องพิจารณาถึงพื้นห้อง ซึ่งเราเพียงแต่ปูกระเบื้องยางก็เพียงพอแล้ว เหตุผลคือ ทำความสะอาดง่ายและประหยัดงบประมาณด้วยเรื่องการสั่นสะเทือนเราอาจทำการทดลองด้วยการวางเครื่องมือต่างๆดังกล่าวข้างต้นไว้ในตำแหน่งต่างๆ สังเกตดูว่าตัวเลขบนเครื่องมือมันเปลี่ยนไปหรือไม่ หากผลคือไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆก็แสดงว่าการสั่นสะเทือนไม่ส่งผลต่อการทำงานส่วนประตูห้อง หากเป็นไปได้ควรทำเป็นประตูบานเลื่อนหรือจะเพิ่มประตู 2 ชั้น (แอร์ล็อค) ด้วยก็จะดีมากสำหรับระบบแสงสว่างก็ใช้หลอดฟลูออเรสเซนซ์ธรรมดา ความสว่างให้เห็นชิ้นงานชัดเจนไม่แสบตาก็เพียงพอแล้วส่วนฝาผนัง ในปัจจุบันก็มีแผ่นยิปซั่มชนิดที่มีฉนวนกันความร้อนและมีแผ่นไฟเบอร์ ให้สังเกตเวลาเราไปซื้อของตามห้างใหญ่ๆ เราก็เลือกใช้ชนิดเดียวกับที่ใช้ในการบุหลังคาห้างนั่นเองส่วนเครื่องปรับอากาศก็ให้พิจารณาเครื่องที่เป็นระบบอินเวอร์เตอร์ ซึ่งก็มีหลายยี่ห้อในท้องตลาด แต่ควรเลือกให้เหมาะกับขนาดของห้องปฏิบัติการของเรารับรองได้ว่าแค่นี้ก็สามารถทำเป็นห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้มาตรฐานได้แล้ว ส่วนในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เรามาลองคำนวณดูกันว่าถ้าอุณหภูมิห้องเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส จะส่งผลให้ความยาวเปลี่ยนไปเท่าไร ทั้งนี้ผลต่างของความยาวของเครื่องมือวัดที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นจะต้องไม่ทำให้การตรวจสอบชิ้นงานมีความผิดพลาดอันเนื่องมาจากเครื่องมือวัดได้ เราสามารถคำนวณค่าผลต่างของความยาวได้ดังสมการ
แผ่นออฟติคอลแฟลตของ “Mitutoyo” มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดเพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้า
Blue Update ฉบับนี้ขอแนะนำวิธีการเลือกซื้อแผนออฟติคอลแฟลตและแผนออฟติคอลพาราแลลเพื่อใชเป็นมาตรฐานในการสอบเทียบผิวหนาสัมผัสของไมโครมิเตอรคาลิปเปอรชนิดวัดนอก
เริ่มต้นเราควรพิจารณาถึงค่าความเรียบและความขนานของไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอก โดยอ้างอิงมาตรฐาน JIS B 7502:1994 กันก่อน ซึ่งไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอกมีค่าความเรียบ 0.6 µm และมีค่าความขนาน 2 µm หลังจากนั้นควรเปรียบเทียบค่าความถูกต้องของค่าความเรียบระหว่างผิวหน้าสัมผัสของไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอกกับค่าความเรียบของออฟติคอลแฟลต ซึ่งเมื่อคำนวณออกมาแล้วพบว่ามีค่าเป็น 1:3 ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขของ ISO 10012-1 ข้อ 4.3 พอดี
แผ่นออฟติคอลแฟลตของ “Mitutoyo” มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดเพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้า แต่การที่จะเลือกซื้อแผ่นออฟติคอลแฟลตที่มีความเรียบ 0.1 µm หรือ 0.2 µm มาใช้นั้นต้องขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งานของเรา รวมไปถึงงบประมาณที่มีอยู่ด้วย ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของแผ่นออฟติคอลแฟลตด้วย เพราะในกรณีที่เราจำเป็นต้องนำแผ่นออฟติคอลแฟลตไปตรวจสอบผิวหน้าของเกจบล็อค แผ่นออฟติคอลแฟลตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 mm น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด
แผ่นออฟติคอลพาราแลลของ “Mitutoyo” ก็มีให้เลือก 2 ชนิดเช่นกันคือ แผ่นออฟติคอลพาราเลลชนิดที่มีความหนา 12.00 mm – 12.37 mm และชนิดที่มีความหนา 25.00 mm – 25.37 mm การตัดสินใจว่าจะเลือกใช้ชนิดไหนนั้น เราควรพิจารณาให้ถี่ถ้วนอย่างละเอียดว่า เราจะใช้แผ่นออฟติคอลพาราเลลวัดไมโครมิเตอร์พิสัย 0 mm –25 mm หรือพิสัยที่มากกว่า 25 mm
อย่างไรก็ตาม เมื่อดูค่าความเรียบของแผ่นออฟติคอลพาราแลลซึ่งแสดงข้อมูลว่ามีค่าความเรียบ 0.1 µm และมีค่าความขนาน 0.2 µm แล้ว ทำให้รู้ว่าในทางปฏิบัติเราสามารถนำแผ่นออฟติคอลพาราเลลไปใช้งานแทนแผ่นออฟติคอลแฟลตได้ แถมมีข้อดีกว่าคือแผ่นออฟติคอลพาราแลลสามารถใช้งานได้ทั้ง 2 ด้าน ขณะที่แผ่นออฟติคอลแฟลตใช้งานได้เฉพาะด้านที่หัวลูกศรชี้ไปเท่านั้น
Blue Update ฉบับนี้ขอแนะนำวิธีการเลือกซื้อแผนออฟติคอลแฟลตและแผนออฟติคอลพาราแลลเพื่อใชเป็นมาตรฐานในการสอบเทียบผิวหนาสัมผัสของไมโครมิเตอรคาลิปเปอรชนิดวัดนอก
เริ่มต้นเราควรพิจารณาถึงค่าความเรียบและความขนานของไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอก โดยอ้างอิงมาตรฐาน JIS B 7502:1994 กันก่อน ซึ่งไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอกมีค่าความเรียบ 0.6 µm และมีค่าความขนาน 2 µm หลังจากนั้นควรเปรียบเทียบค่าความถูกต้องของค่าความเรียบระหว่างผิวหน้าสัมผัสของไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอกกับค่าความเรียบของออฟติคอลแฟลต ซึ่งเมื่อคำนวณออกมาแล้วพบว่ามีค่าเป็น 1:3 ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขของ ISO 10012-1 ข้อ 4.3 พอดี
แผ่นออฟติคอลแฟลตของ “Mitutoyo” มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดเพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้า แต่การที่จะเลือกซื้อแผ่นออฟติคอลแฟลตที่มีความเรียบ 0.1 µm หรือ 0.2 µm มาใช้นั้นต้องขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งานของเรา รวมไปถึงงบประมาณที่มีอยู่ด้วย ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของแผ่นออฟติคอลแฟลตด้วย เพราะในกรณีที่เราจำเป็นต้องนำแผ่นออฟติคอลแฟลตไปตรวจสอบผิวหน้าของเกจบล็อค แผ่นออฟติคอลแฟลตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 mm น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด
แผ่นออฟติคอลพาราแลลของ “Mitutoyo” ก็มีให้เลือก 2 ชนิดเช่นกันคือ แผ่นออฟติคอลพาราเลลชนิดที่มีความหนา 12.00 mm – 12.37 mm และชนิดที่มีความหนา 25.00 mm – 25.37 mm การตัดสินใจว่าจะเลือกใช้ชนิดไหนนั้น เราควรพิจารณาให้ถี่ถ้วนอย่างละเอียดว่า เราจะใช้แผ่นออฟติคอลพาราเลลวัดไมโครมิเตอร์พิสัย 0 mm –25 mm หรือพิสัยที่มากกว่า 25 mm
อย่างไรก็ตาม เมื่อดูค่าความเรียบของแผ่นออฟติคอลพาราแลลซึ่งแสดงข้อมูลว่ามีค่าความเรียบ 0.1 µm และมีค่าความขนาน 0.2 µm แล้ว ทำให้รู้ว่าในทางปฏิบัติเราสามารถนำแผ่นออฟติคอลพาราเลลไปใช้งานแทนแผ่นออฟติคอลแฟลตได้ แถมมีข้อดีกว่าคือแผ่นออฟติคอลพาราแลลสามารถใช้งานได้ทั้ง 2 ด้าน ขณะที่แผ่นออฟติคอลแฟลตใช้งานได้เฉพาะด้านที่หัวลูกศรชี้ไปเท่านั้น
เริ่มต้นเราควรพิจารณาถึงค่าความเรียบและความขนานของไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอก โดยอ้างอิงมาตรฐาน JIS B 7502:1994 กันก่อน ซึ่งไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอกมีค่าความเรียบ 0.6 µm และมีค่าความขนาน 2 µm หลังจากนั้นควรเปรียบเทียบค่าความถูกต้องของค่าความเรียบระหว่างผิวหน้าสัมผัสของไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ชนิดวัดนอกกับค่าความเรียบของออฟติคอลแฟลต ซึ่งเมื่อคำนวณออกมาแล้วพบว่ามีค่าเป็น 1:3 ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขของ ISO 10012-1 ข้อ 4.3 พอดี
แผ่นออฟติคอลแฟลตของ “Mitutoyo” มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดเพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้า แต่การที่จะเลือกซื้อแผ่นออฟติคอลแฟลตที่มีความเรียบ 0.1 µm หรือ 0.2 µm มาใช้นั้นต้องขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งานของเรา รวมไปถึงงบประมาณที่มีอยู่ด้วย ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของแผ่นออฟติคอลแฟลตด้วย เพราะในกรณีที่เราจำเป็นต้องนำแผ่นออฟติคอลแฟลตไปตรวจสอบผิวหน้าของเกจบล็อค แผ่นออฟติคอลแฟลตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 mm น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด
แผ่นออฟติคอลพาราแลลของ “Mitutoyo” ก็มีให้เลือก 2 ชนิดเช่นกันคือ แผ่นออฟติคอลพาราเลลชนิดที่มีความหนา 12.00 mm – 12.37 mm และชนิดที่มีความหนา 25.00 mm – 25.37 mm การตัดสินใจว่าจะเลือกใช้ชนิดไหนนั้น เราควรพิจารณาให้ถี่ถ้วนอย่างละเอียดว่า เราจะใช้แผ่นออฟติคอลพาราเลลวัดไมโครมิเตอร์พิสัย 0 mm –25 mm หรือพิสัยที่มากกว่า 25 mm
อย่างไรก็ตาม เมื่อดูค่าความเรียบของแผ่นออฟติคอลพาราแลลซึ่งแสดงข้อมูลว่ามีค่าความเรียบ 0.1 µm และมีค่าความขนาน 0.2 µm แล้ว ทำให้รู้ว่าในทางปฏิบัติเราสามารถนำแผ่นออฟติคอลพาราเลลไปใช้งานแทนแผ่นออฟติคอลแฟลตได้ แถมมีข้อดีกว่าคือแผ่นออฟติคอลพาราแลลสามารถใช้งานได้ทั้ง 2 ด้าน ขณะที่แผ่นออฟติคอลแฟลตใช้งานได้เฉพาะด้านที่หัวลูกศรชี้ไปเท่านั้น
การเลือกซื้อเกจบล็อก
ในการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดชนิดต่างๆ เช่น ไมโครมิเตอร์วัดนอก (external micrometer) ไมโครมิเตอร์วัดใน (inside micrometer) ไมโครมิเตอร์วัดลึก (depth micrometer) เวอร์เนียคาลิปเปอร์(vernier caliper) ไฮเกจหรือเกจวัดความสูง (height gauge) ไดอัลเกจ (dial gauge) หรือเกจหน้าปัดนาฬิกาและอื่นๆ นั้น เราสามารถที่จะใช้เกจบล็อก (gauge block) เป็นมาตรฐานในการสอบเทียบได้ ในกรณีที่ยังไม่มีเกจบล็อก เราควรจะต้องพิจารณาปัจจัยใดบ้างในการเลือกซื้อสิ่งสำคัญข้อแรกที่ควรพิจารณาก็คือ เครื่องมือมาตรฐานใดๆ ก็ตามจะต้องมีความถูกต้อง (Accuracy) ดีกว่าเครื่องมือวัดที่เราต้องการสอบเทียบอย่างน้อย 3 เท่า (1/3) สำหรับงานทั่วๆ ไป แต่ถ้าจะให้สมบูรณ์แบบจริงๆ ต้อง 10 เท่า (1/10) หรือที่เรียกง่ายๆ ก็คือ กฎ 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 10 นั่นเอง โดยหลักการนี้อ้างอิงมาจาก ISO 10012-1 หัวข้อที่ 4.3 ซึ่งผู้สนใจสามารถหาข้อมูลได้จากห้องสมุดของสำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) ที่ถนนพระราม 6 แขวงทุ่ง พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯสำหรับการเลือกจำนวนชิ้นของเกจบล็อกก็มีความสำคัญ ในเรื่องนี้ต้องพิจารณาจากการใช้งาน เช่น หากมีการใช้เครื่องมือวัดนั้นๆ วัดชิ้นงานเพียงค่าเดียว เราก็จัดหาเกจบล็อกให้ตรงกับความยาวของชิ้นงานนั้นๆ ก็เพียงพอแล้ว แต่ถ้าเรามีตำแหน่งการวัดที่มีขนาดแตกต่างกันก็ควรจะมีเกจบล็อกสำหรับใช้สอบเทียบหลายชิ้น ส่วนจะมีมากน้อยเพียงใดนั้นมีวิธีคิดง่ายๆ โดยการกำหนดช่วงของการสอบเทียบออกเป็นประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ของพิสัยการวัดที่มากที่สุด (10% of full scale) ซึ่งตัวเลขนี้ไม่ได้เป็นกฎตายตัวแต่เป็นหลักสากลนิยม เช่น ถ้าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ มีพิสัยมากที่สุด 150 มิลลิเมตร ให้เราเอา 10 หารจะได้ตัวเลขออกมาเป็น 15, 30, 45, 60, 75, 90, 105, 120, 135 และ 150 มิลลิเมตร ซึ่งก็ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน เพราะเป็นเพียงสเกลหลักเท่านั้น แต่สเกลละเอียดหรือสเกลเวอร์เนียยังไม่มีการวัดเลย ดังนั้น คำว่า 10 เปอร์เซ็นต์ของพิสัยการวัดที่มากที่สุด จึงต้องพิจารณาให้ครอบคลุมทั้งสเกลหลักและสเกลละเอียด สำหรับการสอบเทียบไมโครมิเตอร์นั้นมาตรฐานอ้างอิงได้กำหนดความยาวของการวัดไว้ดังนี้ 2.5, 5.1, 7.7, 10.3, 12.9, 15.0, 17.6, 20.2, 22.8 และ 25.0 มิลลิเมตร และสำหรับไมโครมิเตอร์ที่มีพิสัยการวัดมากขึ้นก็เพียงแต่เราใช้เกจบล็อกที่มีความยาวตรงกับความยาวที่น้อยที่สุดของไมโครมิเตอร์มาประกบกับเกจบล็อกดังกล่าวข้างต้นแต่หากต้องการมาตรฐานอ้างอิงก็จะมีอยู่หลายมาตรฐานด้วยกัน เช่น มาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น คือ JIS มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกาจะเป็นASME ส่วนมาตรฐานของประเทศเยอรมนี คือ DIN และมาตรฐานสากล คือ ISOอีกปัจจัยที่ต้องพิจารณาก็คือ จะเลือกใช้เกจบล็อกที่ทำจากวัสดุอะไรดี เพราะปัจจุบันมีการทำขึ้นจากวัสดุหลายชนิดด้วยกัน อาทิ สเตนเลสสตีล (Stainless Steel) เซรามิก (Ceramic) ทังสเตนคาร์ไบด์ (Tungstain Carbide) และโครมคาร์ไบด์ (Chrome Carbide) เป็นต้น แต่ถ้าตามทฤษฎีแล้วก็ควรจะเลือกใช้เกจบล็อกที่ทำจากสเตนเลสสตีล ด้วยเหตุผลสำคัญก็คือ เครื่องมือวัดละเอียดแทบทุกชนิดทำขึ้นจากวัสดุชนิดนี้ ดังนั้น ก็จะมีการชดเชยค่ากันตามธรรมชาติอยู่แล้ว แต่หากเราใช้เกจบล็อกที่ทำจากเซรามิก ซึ่งเป็นวัสดุที่แตกต่างจากเครื่องมือวัดละเอียดที่ใช้ เพราะฉะนั้นที่อุณหภูมิเดียวกันก็จะยาวไม่เท่ากัน แต่ก็อาจจะไม่มีผลกระทบกับการใช้งานก็ได้ (ขึ้นอยู่กับความถูกต้องของงาน) ดังนั้น การจะเลือกใช้วัสดุอะไรนั้นขึ้นอยู่กับกำลังซื้อของเราด้วยครับ
ในการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดชนิดต่างๆ เช่น ไมโครมิเตอร์วัดนอก (external micrometer) ไมโครมิเตอร์วัดใน (inside micrometer) ไมโครมิเตอร์วัดลึก (depth micrometer) เวอร์เนียคาลิปเปอร์(vernier caliper) ไฮเกจหรือเกจวัดความสูง (height gauge) ไดอัลเกจ (dial gauge) หรือเกจหน้าปัดนาฬิกาและอื่นๆ นั้น เราสามารถที่จะใช้เกจบล็อก (gauge block) เป็นมาตรฐานในการสอบเทียบได้ ในกรณีที่ยังไม่มีเกจบล็อก เราควรจะต้องพิจารณาปัจจัยใดบ้างในการเลือกซื้อสิ่งสำคัญข้อแรกที่ควรพิจารณาก็คือ เครื่องมือมาตรฐานใดๆ ก็ตามจะต้องมีความถูกต้อง (Accuracy) ดีกว่าเครื่องมือวัดที่เราต้องการสอบเทียบอย่างน้อย 3 เท่า (1/3) สำหรับงานทั่วๆ ไป แต่ถ้าจะให้สมบูรณ์แบบจริงๆ ต้อง 10 เท่า (1/10) หรือที่เรียกง่ายๆ ก็คือ กฎ 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 10 นั่นเอง โดยหลักการนี้อ้างอิงมาจาก ISO 10012-1 หัวข้อที่ 4.3 ซึ่งผู้สนใจสามารถหาข้อมูลได้จากห้องสมุดของสำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) ที่ถนนพระราม 6 แขวงทุ่ง พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯสำหรับการเลือกจำนวนชิ้นของเกจบล็อกก็มีความสำคัญ ในเรื่องนี้ต้องพิจารณาจากการใช้งาน เช่น หากมีการใช้เครื่องมือวัดนั้นๆ วัดชิ้นงานเพียงค่าเดียว เราก็จัดหาเกจบล็อกให้ตรงกับความยาวของชิ้นงานนั้นๆ ก็เพียงพอแล้ว แต่ถ้าเรามีตำแหน่งการวัดที่มีขนาดแตกต่างกันก็ควรจะมีเกจบล็อกสำหรับใช้สอบเทียบหลายชิ้น ส่วนจะมีมากน้อยเพียงใดนั้นมีวิธีคิดง่ายๆ โดยการกำหนดช่วงของการสอบเทียบออกเป็นประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ของพิสัยการวัดที่มากที่สุด (10% of full scale) ซึ่งตัวเลขนี้ไม่ได้เป็นกฎตายตัวแต่เป็นหลักสากลนิยม เช่น ถ้าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ มีพิสัยมากที่สุด 150 มิลลิเมตร ให้เราเอา 10 หารจะได้ตัวเลขออกมาเป็น 15, 30, 45, 60, 75, 90, 105, 120, 135 และ 150 มิลลิเมตร ซึ่งก็ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน เพราะเป็นเพียงสเกลหลักเท่านั้น แต่สเกลละเอียดหรือสเกลเวอร์เนียยังไม่มีการวัดเลย ดังนั้น คำว่า 10 เปอร์เซ็นต์ของพิสัยการวัดที่มากที่สุด จึงต้องพิจารณาให้ครอบคลุมทั้งสเกลหลักและสเกลละเอียด สำหรับการสอบเทียบไมโครมิเตอร์นั้นมาตรฐานอ้างอิงได้กำหนดความยาวของการวัดไว้ดังนี้ 2.5, 5.1, 7.7, 10.3, 12.9, 15.0, 17.6, 20.2, 22.8 และ 25.0 มิลลิเมตร และสำหรับไมโครมิเตอร์ที่มีพิสัยการวัดมากขึ้นก็เพียงแต่เราใช้เกจบล็อกที่มีความยาวตรงกับความยาวที่น้อยที่สุดของไมโครมิเตอร์มาประกบกับเกจบล็อกดังกล่าวข้างต้นแต่หากต้องการมาตรฐานอ้างอิงก็จะมีอยู่หลายมาตรฐานด้วยกัน เช่น มาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น คือ JIS มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกาจะเป็นASME ส่วนมาตรฐานของประเทศเยอรมนี คือ DIN และมาตรฐานสากล คือ ISOอีกปัจจัยที่ต้องพิจารณาก็คือ จะเลือกใช้เกจบล็อกที่ทำจากวัสดุอะไรดี เพราะปัจจุบันมีการทำขึ้นจากวัสดุหลายชนิดด้วยกัน อาทิ สเตนเลสสตีล (Stainless Steel) เซรามิก (Ceramic) ทังสเตนคาร์ไบด์ (Tungstain Carbide) และโครมคาร์ไบด์ (Chrome Carbide) เป็นต้น แต่ถ้าตามทฤษฎีแล้วก็ควรจะเลือกใช้เกจบล็อกที่ทำจากสเตนเลสสตีล ด้วยเหตุผลสำคัญก็คือ เครื่องมือวัดละเอียดแทบทุกชนิดทำขึ้นจากวัสดุชนิดนี้ ดังนั้น ก็จะมีการชดเชยค่ากันตามธรรมชาติอยู่แล้ว แต่หากเราใช้เกจบล็อกที่ทำจากเซรามิก ซึ่งเป็นวัสดุที่แตกต่างจากเครื่องมือวัดละเอียดที่ใช้ เพราะฉะนั้นที่อุณหภูมิเดียวกันก็จะยาวไม่เท่ากัน แต่ก็อาจจะไม่มีผลกระทบกับการใช้งานก็ได้ (ขึ้นอยู่กับความถูกต้องของงาน) ดังนั้น การจะเลือกใช้วัสดุอะไรนั้นขึ้นอยู่กับกำลังซื้อของเราด้วยครับ
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย ของการเลือกใช้เกจบล็อกที่ทำจากวัสดุที่แตกต่างกัน คือ สตีล เซรามิค และคาร์ไบด์
ความถูกต้องเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดด้านมิติที่ใช้ในสถานประกอบการการผลิต ถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อระบบการตรวจสอบคุณภาพที่ได้มาตรฐาน ซึ่งห้องปฏิบัติการสอบเทีบบก็ถือว่ามีส่วนสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ผลิตเหล่านี้เกิดความมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการตรวจสอบจากเครื่องมือวัดที่ผ่านการสอบเทียบแล้วจะสามารถรับประกันความถูกต้องได้
ในส่วนของห้องปฏิบัติอิการสอบเทียบเองก็เช่นกัน การจะทำให้เกิดความมั่นใจว่าการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติมีความถูกต้องนั้น ตัวมาตรฐาน (Standard) ที่นำมาใช้ในการสอบเทียบจะต้องมีความถูกต้องตามมาตรฐานกำหนดและคุณสมบัติเฉพาะที่เหมาะสมต่อการใช้งานสิ่งสำคัญคือ จะต้องช่วยให้ผู้ประกอบการห้องแฏิบัติการสอบเทียบสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายและลดเวลาในการดำเนินการได้
ชุดแท่งเทียบมาตรฐานหรือเกจบล็อก (standard Gauge Block) เป็นอุปกรณ์มาตรฐานอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญและมีใช้อยู่ในห้องปฏิบัติการสอบเทียบแทบทุกที่ ดังนั้นการตัดสินใจเลือกซื้อเกจบล็อกของห้องปฏิบัติการสอบเทียบจึงต้องคำนึงถึงหลายๆปัจจัย เพราะหากได้เกจบล็อกที่มีคุณสมบัติไม่เหมาะสมกับลักษณะการใช้งาน นอกจากจะส่งผลเสียต่อประสิทธิภาพและคุณพาพของการสอบเทียบแล้ว ยังเสี่ยงต่อการรักษาความพึงพอใจของลูกค้าผู้รับบริการสอบเทียบอีกด้วย ดังนั้นบทความ Measure Expert ฉบับนี้ จึงขอเสนอการเปรียบเทียบให้เห็นถึงข้อดี-ข้อเสีย ของการเลือกใช้เกจบล็อกที่ทำจากวัสดุที่แตกต่างคือ สตีล เซรามิค และคาร์ไบด์
จากตาาราง แสดงให้เห็นว่าคุณสมบัติเฉพาะของเกจบล็อกที่ทำจากวัสดุสตีล เซรามิค และคาร์ไบด์ มีจุดเด่นและจุดด้อยในแง่ต่างๆที่สำคัญต่อผู้ประกอบการห้องปฏิบัติการสอบเทียบแตกต่างกันไป ซึ่งสามารถสรุปและวิเคราะห์ออกมาได้ดังนี้
1) คุณสมบัติเชิงกล คุณสมบัติเฉพาะของเกจบล็อกที่มีผลต่อคุณภาพและความสามารถของการสอบเทียบคือ ความเรียบ ความขนาน การนำมาประกบกัน คุณสมบัติเฉพาะของ 3 ส่วนนี้ไม่ได้มีความแตกต่างกันมาก แต่คุณสมบัติของการขยายตัวตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเซรามิคจะมีการขยายตัวน้อยกว่า เมื่อดูที่ค่าสัมประสิทธิ์การขยายตัวของวัสดุและการควบคุมอุณหภูมิของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ คุณสมบัติข้อนี้จึงมีผลต่อความคลาดเคลื่อนที่จะเกิดขึ้นได้น้อยมาก ดังนั้นในแง่ของการใช้งานแล้ววัสดุทั้ง 3 ชนิดนี้จึงไม่มีผลแตกต่างกันอย่างชัดเจน
2) การใช้งาน การใช้งานในด้านคุณสมบัติการแตกหัก การเกิดรอยขีดข่วนและการเกิดรอยนูน วัสดุทั้ง 3 ชนิดนี้ ต่างมีข้อดีข้อเสียในตัวของมันเองไม่มีวัสดุชนิดใดดีกว่าหรือแย่กว่ากันอย่างเด่นชัด
3) การบำรุงรักษา เนื่องจากเซรามิคมีคุณสมบัติไม่เกิดสนิม ดังนั้นในการจัดเก็บและบำรุงรักษาจึงไม่ต้องเคลือบน้ำมัน ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาในการเช็ดทำความสะอาดก่อนใช้และหลังใช้งาน นับเป็นการประหยัดเวลาได้มากทีเดียว
4) ราคา เกจบล็อกที่ทำมาจากเซรามิคมีราคาแพงกว่าเกจบล็อกทีทำมาจากสตีลและคาร์ไบด์
จากคุณสมบัติเฉพาะของวัสดุทั้ง 3 ชนิด คือ สตีล เซรามิค และคาร์ไบด์ จะเห็นได้ว่าเกจบล็อกที่ทำมาจากเซรามิคค่อนข้างจะมีคุณสมบัติเฉพาะโดดเด่นกว่าวัสดุที่ทำมาจากสตีลและคาร์ไบด์ แต่กลับไม่ค่อยได้รับความนิยมเพราะมีราคาสูงกว่าเกจบล็อกแบบสตีลและคาร์ไบด์ แต่ถ้าเกจบล็อกเซรามิคมีราคาลดลงหรือใกล้เคียงกับเกจบล็อกอื่นๆ เกจบล็อกเซรามิคก็น่าจะเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อย
ความถูกต้องเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดด้านมิติที่ใช้ในสถานประกอบการการผลิต ถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อระบบการตรวจสอบคุณภาพที่ได้มาตรฐาน ซึ่งห้องปฏิบัติการสอบเทีบบก็ถือว่ามีส่วนสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ผลิตเหล่านี้เกิดความมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการตรวจสอบจากเครื่องมือวัดที่ผ่านการสอบเทียบแล้วจะสามารถรับประกันความถูกต้องได้
ในส่วนของห้องปฏิบัติอิการสอบเทียบเองก็เช่นกัน การจะทำให้เกิดความมั่นใจว่าการให้บริการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติมีความถูกต้องนั้น ตัวมาตรฐาน (Standard) ที่นำมาใช้ในการสอบเทียบจะต้องมีความถูกต้องตามมาตรฐานกำหนดและคุณสมบัติเฉพาะที่เหมาะสมต่อการใช้งานสิ่งสำคัญคือ จะต้องช่วยให้ผู้ประกอบการห้องแฏิบัติการสอบเทียบสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายและลดเวลาในการดำเนินการได้
ชุดแท่งเทียบมาตรฐานหรือเกจบล็อก (standard Gauge Block) เป็นอุปกรณ์มาตรฐานอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญและมีใช้อยู่ในห้องปฏิบัติการสอบเทียบแทบทุกที่ ดังนั้นการตัดสินใจเลือกซื้อเกจบล็อกของห้องปฏิบัติการสอบเทียบจึงต้องคำนึงถึงหลายๆปัจจัย เพราะหากได้เกจบล็อกที่มีคุณสมบัติไม่เหมาะสมกับลักษณะการใช้งาน นอกจากจะส่งผลเสียต่อประสิทธิภาพและคุณพาพของการสอบเทียบแล้ว ยังเสี่ยงต่อการรักษาความพึงพอใจของลูกค้าผู้รับบริการสอบเทียบอีกด้วย ดังนั้นบทความ Measure Expert ฉบับนี้ จึงขอเสนอการเปรียบเทียบให้เห็นถึงข้อดี-ข้อเสีย ของการเลือกใช้เกจบล็อกที่ทำจากวัสดุที่แตกต่างคือ สตีล เซรามิค และคาร์ไบด์
จากตาาราง แสดงให้เห็นว่าคุณสมบัติเฉพาะของเกจบล็อกที่ทำจากวัสดุสตีล เซรามิค และคาร์ไบด์ มีจุดเด่นและจุดด้อยในแง่ต่างๆที่สำคัญต่อผู้ประกอบการห้องปฏิบัติการสอบเทียบแตกต่างกันไป ซึ่งสามารถสรุปและวิเคราะห์ออกมาได้ดังนี้
จากตาาราง แสดงให้เห็นว่าคุณสมบัติเฉพาะของเกจบล็อกที่ทำจากวัสดุสตีล เซรามิค และคาร์ไบด์ มีจุดเด่นและจุดด้อยในแง่ต่างๆที่สำคัญต่อผู้ประกอบการห้องปฏิบัติการสอบเทียบแตกต่างกันไป ซึ่งสามารถสรุปและวิเคราะห์ออกมาได้ดังนี้
1) คุณสมบัติเชิงกล คุณสมบัติเฉพาะของเกจบล็อกที่มีผลต่อคุณภาพและความสามารถของการสอบเทียบคือ ความเรียบ ความขนาน การนำมาประกบกัน คุณสมบัติเฉพาะของ 3 ส่วนนี้ไม่ได้มีความแตกต่างกันมาก แต่คุณสมบัติของการขยายตัวตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเซรามิคจะมีการขยายตัวน้อยกว่า เมื่อดูที่ค่าสัมประสิทธิ์การขยายตัวของวัสดุและการควบคุมอุณหภูมิของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ คุณสมบัติข้อนี้จึงมีผลต่อความคลาดเคลื่อนที่จะเกิดขึ้นได้น้อยมาก ดังนั้นในแง่ของการใช้งานแล้ววัสดุทั้ง 3 ชนิดนี้จึงไม่มีผลแตกต่างกันอย่างชัดเจน
2) การใช้งาน การใช้งานในด้านคุณสมบัติการแตกหัก การเกิดรอยขีดข่วนและการเกิดรอยนูน วัสดุทั้ง 3 ชนิดนี้ ต่างมีข้อดีข้อเสียในตัวของมันเองไม่มีวัสดุชนิดใดดีกว่าหรือแย่กว่ากันอย่างเด่นชัด
3) การบำรุงรักษา เนื่องจากเซรามิคมีคุณสมบัติไม่เกิดสนิม ดังนั้นในการจัดเก็บและบำรุงรักษาจึงไม่ต้องเคลือบน้ำมัน ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาในการเช็ดทำความสะอาดก่อนใช้และหลังใช้งาน นับเป็นการประหยัดเวลาได้มากทีเดียว
4) ราคา เกจบล็อกที่ทำมาจากเซรามิคมีราคาแพงกว่าเกจบล็อกทีทำมาจากสตีลและคาร์ไบด์
จากคุณสมบัติเฉพาะของวัสดุทั้ง 3 ชนิด คือ สตีล เซรามิค และคาร์ไบด์ จะเห็นได้ว่าเกจบล็อกที่ทำมาจากเซรามิคค่อนข้างจะมีคุณสมบัติเฉพาะโดดเด่นกว่าวัสดุที่ทำมาจากสตีลและคาร์ไบด์ แต่กลับไม่ค่อยได้รับความนิยมเพราะมีราคาสูงกว่าเกจบล็อกแบบสตีลและคาร์ไบด์ แต่ถ้าเกจบล็อกเซรามิคมีราคาลดลงหรือใกล้เคียงกับเกจบล็อกอื่นๆ เกจบล็อกเซรามิคก็น่าจะเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อย
3 ขั้นตอนง่ายๆในการใช้และการดูแลรักษาเกจบล็อก
บทความต่อจากตอนที่แล้ว สมมุติว่าเราสั่งซื้อเกจบล็อกชุด M10 วัสดุทำจาก Stainless steel เกรด1 สำหรับนำมาสอบเทียบไมโครมิเตอร์ไปแล้ว เมื่อบริษัทผู้ขายส่งเกจบล็อกให้เราแล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าเกจบล็อกในกล่องนั้นดีหรือไม่
ในขั้นตอนแรกก็ให้เราสังเกตดูที่กล่อง ซึ่งผู้ผลิตจะให้รายละเอียดต่างๆที่ปรากฏดังนี้คือ หมายเลขรุ่น หมายเลขเครื่อง เกรด ถ้ามีครบถ้วนก็พอจะเชื่อถือได้แล้วขั้นตอนที่ 2 ให้เราดูจากในใบรับรองผลการสอบเทียบ (Certificate of Calibration) ของผู้ผลิต ถ้าเขียนแบบนี้เราก็ใช้ได้เลยไม่ต้องส่งไปสอบเทียบอีก ถึงแม้เขาจะไม่ได้ระบุชื่อบริษัทเราก็ตาม แต่ถ้าเป็น Certificate of Inspection คงมีปัญหาเพราะผู้ตรวจประเมินไม่ยอมรับ ดังนั้นเราจำเป็นต้องส่งไปสอบเทียบที่ห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติ ISO/IEC 17025 เสียก่อนที่จะนำไปใช้งาน (เสียเงินสองต่อเลยเรา)ขั้นตอนที่ 3 ให้เราหยิบเกจบล็อกออกมาดูทีละชิ้นว่ามีรอยขีดข่วน แตก ร้าว บิ่นบนผิวหน้าเกจบล็อกหรือไม่ และสังเกตว่าผิวหน้าเกจบล็อกเป็นสนิมหรือไม่ แค่นี้ก็เพียงพอแล้วครับสำหรับการใช้และการบำรุงรักษาก็เพียงแต่เราทำความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์และเคลือบด้วยวาสลินหรือน้ำมันก็เพียงพอ แต่หลายคนสงสัยว่าควรใช้แอลกอฮอล์กี่เปอร์เซ็นต์ดี คำตอบก็คือ 95 เปอร์เซ็นต์ก็เพียงพอ หรือบางคนอาจจะใช้แอลกอฮอล์ 100 เปอร์เซ็นต์ก็ไม่ว่ากัน แต่ต้องระวังว่าผู้ใช้เองอาจจะเป็นคนติดแอลกอฮอล์โดยไม่ได้ดื่มและส่งผลเสียคือ เยื่อบุโพรงจมูกอาจถูกทำลายได้ ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานต่อไป สำหรับแอลกอฮอล์ 75 เปอร์เซ็นต์ไม่ควรใช้เพราะมีน้ำปนอยู่ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์”
บทความต่อจากตอนที่แล้ว สมมุติว่าเราสั่งซื้อเกจบล็อกชุด M10 วัสดุทำจาก Stainless steel เกรด1 สำหรับนำมาสอบเทียบไมโครมิเตอร์ไปแล้ว เมื่อบริษัทผู้ขายส่งเกจบล็อกให้เราแล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าเกจบล็อกในกล่องนั้นดีหรือไม่
ในขั้นตอนแรกก็ให้เราสังเกตดูที่กล่อง ซึ่งผู้ผลิตจะให้รายละเอียดต่างๆที่ปรากฏดังนี้คือ หมายเลขรุ่น หมายเลขเครื่อง เกรด ถ้ามีครบถ้วนก็พอจะเชื่อถือได้แล้วขั้นตอนที่ 2 ให้เราดูจากในใบรับรองผลการสอบเทียบ (Certificate of Calibration) ของผู้ผลิต ถ้าเขียนแบบนี้เราก็ใช้ได้เลยไม่ต้องส่งไปสอบเทียบอีก ถึงแม้เขาจะไม่ได้ระบุชื่อบริษัทเราก็ตาม แต่ถ้าเป็น Certificate of Inspection คงมีปัญหาเพราะผู้ตรวจประเมินไม่ยอมรับ ดังนั้นเราจำเป็นต้องส่งไปสอบเทียบที่ห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติ ISO/IEC 17025 เสียก่อนที่จะนำไปใช้งาน (เสียเงินสองต่อเลยเรา)ขั้นตอนที่ 3 ให้เราหยิบเกจบล็อกออกมาดูทีละชิ้นว่ามีรอยขีดข่วน แตก ร้าว บิ่นบนผิวหน้าเกจบล็อกหรือไม่ และสังเกตว่าผิวหน้าเกจบล็อกเป็นสนิมหรือไม่ แค่นี้ก็เพียงพอแล้วครับสำหรับการใช้และการบำรุงรักษาก็เพียงแต่เราทำความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์และเคลือบด้วยวาสลินหรือน้ำมันก็เพียงพอ แต่หลายคนสงสัยว่าควรใช้แอลกอฮอล์กี่เปอร์เซ็นต์ดี คำตอบก็คือ 95 เปอร์เซ็นต์ก็เพียงพอ หรือบางคนอาจจะใช้แอลกอฮอล์ 100 เปอร์เซ็นต์ก็ไม่ว่ากัน แต่ต้องระวังว่าผู้ใช้เองอาจจะเป็นคนติดแอลกอฮอล์โดยไม่ได้ดื่มและส่งผลเสียคือ เยื่อบุโพรงจมูกอาจถูกทำลายได้ ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานต่อไป สำหรับแอลกอฮอล์ 75 เปอร์เซ็นต์ไม่ควรใช้เพราะมีน้ำปนอยู่ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์”
ในขั้นตอนแรกก็ให้เราสังเกตดูที่กล่อง ซึ่งผู้ผลิตจะให้รายละเอียดต่างๆที่ปรากฏดังนี้คือ หมายเลขรุ่น หมายเลขเครื่อง เกรด ถ้ามีครบถ้วนก็พอจะเชื่อถือได้แล้วขั้นตอนที่ 2 ให้เราดูจากในใบรับรองผลการสอบเทียบ (Certificate of Calibration) ของผู้ผลิต ถ้าเขียนแบบนี้เราก็ใช้ได้เลยไม่ต้องส่งไปสอบเทียบอีก ถึงแม้เขาจะไม่ได้ระบุชื่อบริษัทเราก็ตาม แต่ถ้าเป็น Certificate of Inspection คงมีปัญหาเพราะผู้ตรวจประเมินไม่ยอมรับ ดังนั้นเราจำเป็นต้องส่งไปสอบเทียบที่ห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติ ISO/IEC 17025 เสียก่อนที่จะนำไปใช้งาน (เสียเงินสองต่อเลยเรา)ขั้นตอนที่ 3 ให้เราหยิบเกจบล็อกออกมาดูทีละชิ้นว่ามีรอยขีดข่วน แตก ร้าว บิ่นบนผิวหน้าเกจบล็อกหรือไม่ และสังเกตว่าผิวหน้าเกจบล็อกเป็นสนิมหรือไม่ แค่นี้ก็เพียงพอแล้วครับสำหรับการใช้และการบำรุงรักษาก็เพียงแต่เราทำความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์และเคลือบด้วยวาสลินหรือน้ำมันก็เพียงพอ แต่หลายคนสงสัยว่าควรใช้แอลกอฮอล์กี่เปอร์เซ็นต์ดี คำตอบก็คือ 95 เปอร์เซ็นต์ก็เพียงพอ หรือบางคนอาจจะใช้แอลกอฮอล์ 100 เปอร์เซ็นต์ก็ไม่ว่ากัน แต่ต้องระวังว่าผู้ใช้เองอาจจะเป็นคนติดแอลกอฮอล์โดยไม่ได้ดื่มและส่งผลเสียคือ เยื่อบุโพรงจมูกอาจถูกทำลายได้ ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานต่อไป สำหรับแอลกอฮอล์ 75 เปอร์เซ็นต์ไม่ควรใช้เพราะมีน้ำปนอยู่ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์”
การทำ Intermediate check ของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ สามารถทำได้ด้วยการวัด ความเรียบบนผิวหน้าของเกจบล็อกด้วยออปติคอลแฟลต
ในการใช้งานเครื่องมือวัดทั่วไป นอกจากเราจะต้องมีความเข้าใจในวิธีการวัดที่ถูกต้องแล้วผู้ใช้ต้องมีความมั่นใจว่า เครื่องมือนั้นมีความถูกต้องแม่นยำที่เหมาะสมกับของชิ้นงานที่มักจะกำหนดค่าตามคุณสมบัติเฉพาะ (Specification)และค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือ
โดยพิจารณาจากผลการสอบเทียบจากห้องปฏิบัติการสอบเทียบ แต่หลังจากที่เครื่องมือถูกนำมาใช้งานระยะหนึ่งและก่อนที่จะถึงกำหนดการสอบเทียบครั้งต่อไป เราจำเป็นจะต้องมีการทวนสอบ(Verify) ว่าเครื่องมือยังมีความถูกต้องอยู่ในเกณฑ์ที่เรากำหนด เพื่อให้มั่นใจว่ายังสามารถนำไปใช้งานได้ ซึ่งระยะเวลาของการทวนสอบก็กำหนดตามความเหมาะสมและลักษณะการใช้งาน โดยพิจารณาจากความถี่และสภาพแวดล้อมของการใช้งานเป็นหลัก
สำหรับห้องปฏิบัติการสอบเทียบก็เช่นกันต้องมีความมั่นใจว่าอุปกรณ์และเครื่องมือมาตรฐานที่ใช้ในการสอบเทียบอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดดังนั้นเมื่อมีการตรวจประเมินความสามารถห้องปฏิบัติการสอบเทียบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ผู้ตรวจประเมินด้านวิชาการมักจะให้ห้องปฏิบัติการสอบเทียบทำ Intermediate check ตัวอย่างเช่น การทำ Intermediate check สำหรับเกจบล็อกซึ่งเป็นมาตรฐานสูงสุดของห้องปฏิบัติการสอบเทียบทั่วไปที่ใช้ในการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติเช่น ไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ หรือเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เป็นต้น
เมื่อพิจารณาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของเกจบล็อกตามข้อกำหนดใน ISO 3650 ข้อ 6.2.4 พบว่า ค่าความคงตัวต่อปี (Dimensional stability/year) มีค่าเท่ากับ 0.02 μm + 0.5 × 10-6 × l สำหรับเกจบล็อกเกรด K และ 0 และมีค่าไม่เกิน0.05 μm + 0.5 × 10-6× l สำหรับเกจบล็อกเกรด1 และ 2 ซึ่งมีค่าการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก เมื่อเทียบกับค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือวัดละเอียดทั่วๆไป ดังนั้นจึงต้องพิจารณาค่าจากผลการสอบเทียบประจำปีที่ผ่านมาว่า มีค่าความเบี่ยงเบนจากค่ากลาง (Deviation from central length) และค่าผันแปรของความยาว (Variation of length) แตกต่างกันเกินเกณฑ์การยอมรับได้หรือไม่ เพราะฉะนั้นในการทำ Intermediate check ของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ สามารถทำได้ด้วยการวัด ความเรียบบนผิวหน้าของเกจบล็อกด้วยออปติคอลแฟลต (Optical flat) วิธีการทำคือ ประกบเกจบล็อกเข้ากับ แผ่นออปติคอลแฟลต เมื่อเราออกแรงกดเพียงเล็กน้อยและสังเกตดูบนผิวหน้าของเกจบล็อกผ่านแผ่นออปติคอลแฟลตจะต้องไม่พบริ้ว (Fringe) ของการแทรกสอดของแสงเลย ลักษณะเช่นนี้เราสามารถประมาณการได้ว่าผิวหน้าของเกจบล็อกมีความเรียบไม่เกิน 0.1 μm ตามข้อกำหนด ISO 3650 ข้อ 8.2
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการใช้แผ่นออปติคอลแฟลตวัดความเรียบบนผิวหน้าของเกจบล็อกแทนที่จะต้องซื้อเครื่องมือมาตรฐานขั้นสูงขึ้นไป ที่มีราคาแพง มากๆ เพื่อมาทำ Intermediate check อย่างเดียว จึงเป็นทางเลือกที่คุ้มค่า มีประสิทธิภาพสูงและได้รับการยอมรับ โดยทั่วไป
ในการใช้งานเครื่องมือวัดทั่วไป นอกจากเราจะต้องมีความเข้าใจในวิธีการวัดที่ถูกต้องแล้วผู้ใช้ต้องมีความมั่นใจว่า เครื่องมือนั้นมีความถูกต้องแม่นยำที่เหมาะสมกับของชิ้นงานที่มักจะกำหนดค่าตามคุณสมบัติเฉพาะ (Specification)และค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือ
โดยพิจารณาจากผลการสอบเทียบจากห้องปฏิบัติการสอบเทียบ แต่หลังจากที่เครื่องมือถูกนำมาใช้งานระยะหนึ่งและก่อนที่จะถึงกำหนดการสอบเทียบครั้งต่อไป เราจำเป็นจะต้องมีการทวนสอบ(Verify) ว่าเครื่องมือยังมีความถูกต้องอยู่ในเกณฑ์ที่เรากำหนด เพื่อให้มั่นใจว่ายังสามารถนำไปใช้งานได้ ซึ่งระยะเวลาของการทวนสอบก็กำหนดตามความเหมาะสมและลักษณะการใช้งาน โดยพิจารณาจากความถี่และสภาพแวดล้อมของการใช้งานเป็นหลัก
สำหรับห้องปฏิบัติการสอบเทียบก็เช่นกันต้องมีความมั่นใจว่าอุปกรณ์และเครื่องมือมาตรฐานที่ใช้ในการสอบเทียบอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดดังนั้นเมื่อมีการตรวจประเมินความสามารถห้องปฏิบัติการสอบเทียบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ผู้ตรวจประเมินด้านวิชาการมักจะให้ห้องปฏิบัติการสอบเทียบทำ Intermediate check ตัวอย่างเช่น การทำ Intermediate check สำหรับเกจบล็อกซึ่งเป็นมาตรฐานสูงสุดของห้องปฏิบัติการสอบเทียบทั่วไปที่ใช้ในการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติเช่น ไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ หรือเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เป็นต้น
เมื่อพิจารณาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของเกจบล็อกตามข้อกำหนดใน ISO 3650 ข้อ 6.2.4 พบว่า ค่าความคงตัวต่อปี (Dimensional stability/year) มีค่าเท่ากับ 0.02 μm + 0.5 × 10-6 × l สำหรับเกจบล็อกเกรด K และ 0 และมีค่าไม่เกิน0.05 μm + 0.5 × 10-6× l สำหรับเกจบล็อกเกรด1 และ 2 ซึ่งมีค่าการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก เมื่อเทียบกับค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือวัดละเอียดทั่วๆไป ดังนั้นจึงต้องพิจารณาค่าจากผลการสอบเทียบประจำปีที่ผ่านมาว่า มีค่าความเบี่ยงเบนจากค่ากลาง (Deviation from central length) และค่าผันแปรของความยาว (Variation of length) แตกต่างกันเกินเกณฑ์การยอมรับได้หรือไม่ เพราะฉะนั้นในการทำ Intermediate check ของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ สามารถทำได้ด้วยการวัด ความเรียบบนผิวหน้าของเกจบล็อกด้วยออปติคอลแฟลต (Optical flat) วิธีการทำคือ ประกบเกจบล็อกเข้ากับ แผ่นออปติคอลแฟลต เมื่อเราออกแรงกดเพียงเล็กน้อยและสังเกตดูบนผิวหน้าของเกจบล็อกผ่านแผ่นออปติคอลแฟลตจะต้องไม่พบริ้ว (Fringe) ของการแทรกสอดของแสงเลย ลักษณะเช่นนี้เราสามารถประมาณการได้ว่าผิวหน้าของเกจบล็อกมีความเรียบไม่เกิน 0.1 μm ตามข้อกำหนด ISO 3650 ข้อ 8.2
โดยพิจารณาจากผลการสอบเทียบจากห้องปฏิบัติการสอบเทียบ แต่หลังจากที่เครื่องมือถูกนำมาใช้งานระยะหนึ่งและก่อนที่จะถึงกำหนดการสอบเทียบครั้งต่อไป เราจำเป็นจะต้องมีการทวนสอบ(Verify) ว่าเครื่องมือยังมีความถูกต้องอยู่ในเกณฑ์ที่เรากำหนด เพื่อให้มั่นใจว่ายังสามารถนำไปใช้งานได้ ซึ่งระยะเวลาของการทวนสอบก็กำหนดตามความเหมาะสมและลักษณะการใช้งาน โดยพิจารณาจากความถี่และสภาพแวดล้อมของการใช้งานเป็นหลัก
สำหรับห้องปฏิบัติการสอบเทียบก็เช่นกันต้องมีความมั่นใจว่าอุปกรณ์และเครื่องมือมาตรฐานที่ใช้ในการสอบเทียบอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดดังนั้นเมื่อมีการตรวจประเมินความสามารถห้องปฏิบัติการสอบเทียบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ผู้ตรวจประเมินด้านวิชาการมักจะให้ห้องปฏิบัติการสอบเทียบทำ Intermediate check ตัวอย่างเช่น การทำ Intermediate check สำหรับเกจบล็อกซึ่งเป็นมาตรฐานสูงสุดของห้องปฏิบัติการสอบเทียบทั่วไปที่ใช้ในการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติเช่น ไมโครมิเตอร์คาลิปเปอร์ หรือเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เป็นต้น
เมื่อพิจารณาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของเกจบล็อกตามข้อกำหนดใน ISO 3650 ข้อ 6.2.4 พบว่า ค่าความคงตัวต่อปี (Dimensional stability/year) มีค่าเท่ากับ 0.02 μm + 0.5 × 10-6 × l สำหรับเกจบล็อกเกรด K และ 0 และมีค่าไม่เกิน0.05 μm + 0.5 × 10-6× l สำหรับเกจบล็อกเกรด1 และ 2 ซึ่งมีค่าการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก เมื่อเทียบกับค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือวัดละเอียดทั่วๆไป ดังนั้นจึงต้องพิจารณาค่าจากผลการสอบเทียบประจำปีที่ผ่านมาว่า มีค่าความเบี่ยงเบนจากค่ากลาง (Deviation from central length) และค่าผันแปรของความยาว (Variation of length) แตกต่างกันเกินเกณฑ์การยอมรับได้หรือไม่ เพราะฉะนั้นในการทำ Intermediate check ของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ สามารถทำได้ด้วยการวัด ความเรียบบนผิวหน้าของเกจบล็อกด้วยออปติคอลแฟลต (Optical flat) วิธีการทำคือ ประกบเกจบล็อกเข้ากับ แผ่นออปติคอลแฟลต เมื่อเราออกแรงกดเพียงเล็กน้อยและสังเกตดูบนผิวหน้าของเกจบล็อกผ่านแผ่นออปติคอลแฟลตจะต้องไม่พบริ้ว (Fringe) ของการแทรกสอดของแสงเลย ลักษณะเช่นนี้เราสามารถประมาณการได้ว่าผิวหน้าของเกจบล็อกมีความเรียบไม่เกิน 0.1 μm ตามข้อกำหนด ISO 3650 ข้อ 8.2
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการใช้แผ่นออปติคอลแฟลตวัดความเรียบบนผิวหน้าของเกจบล็อกแทนที่จะต้องซื้อเครื่องมือมาตรฐานขั้นสูงขึ้นไป ที่มีราคาแพง มากๆ เพื่อมาทำ Intermediate check อย่างเดียว จึงเป็นทางเลือกที่คุ้มค่า มีประสิทธิภาพสูงและได้รับการยอมรับ โดยทั่วไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น